teafortwojazz.com

teafortwojazz.com

สนทนา ธรรม ตาม กาล

อ. ปยุตฺโต ข้อ [353] มงคล 38 บอกไว้ว่า – 30. กาเลน ธมฺมสากจฺฉา (สนทนาธรรมตามกาล, หาโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกัน เกี่ยวกับหลักความจริงความดีงามและเรื่องที่เป็นประโยชน์ — Dhammasākacchā: religious discussion at due seasons; regular or opportune discussion of Truth) ………….. ในคัมภีร์ท่านขยายความ " กาลธัมมสากัจฉา = การสนทนาธรรมตามกาล " ไว้ดังนี้ – จิตฺตํ ยสฺมึ กาเล ลีนญฺจ ยสฺมึ อุทฺธตญฺจ ยสฺมึ วิจิกิจฺฉาปเรตํ ตาย อุปทฺทูตญฺจ โหติ ตสฺมึ ตสฺมึ กาเลปิ ธมฺมสากจฺฉา กาเลน ธมฺมสากจฺฉา นาม. จิตย่อมหดหู่ในกาลใด ย่อมฟุ้งซ่านในกาลใด และย่อมถูกวิจิกิจฉาครอบงำ คือถูกวิจิกิจฉาประทุษร้ายแล้วในกาลใด การสนทนาธรรมแม้ในกาลนั้นๆ ชื่อว่าการสนทนาธรรมตามกาล ที่มา: มังคลัตถทีปนี ภาค 2 ข้อ 465 หน้า 363 สา อาคมพฺยตฺติอาทีนํ คุณานํ เหตุโต มงฺคลนฺติ วุจฺจติ. การสนทนาธรรมตามกาลนั้นพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่งคุณทั้งหลายมีความฉลาดในอาคมเป็นต้น (คือฉลาดในพระไตรปิฎกรวมไปถึงฉลาดในวิธีปฏิบัติให้บรรลุมรรคผลเป็นที่สุด) ที่มา: มังคลัตถทีปนี ภาค 2 ข้อ 464 หน้า 363 ดูก่อนภราดา! : พูดน้อย แต่ได้ประโยชน์: ดีกว่าพูดมาก แต่ไร้ประโยชน์ —————– #บาลีวันละคำ (3, 312) (ชุดมงคล 38) 7-7-64 ดูโพสต์ในเฟซบุ๊กของครูทองย้อย จำนวนผู้เข้าชม: 278

  1. มงคลชีวิต ๓๘ ประการ: มงคลที่ ๓๐ การสนทนาธรรมตามกาล
  2. รายการ พบพระอาจารย์ " สนทนาธรรมตามกาล " (ศ.28 ม.ค.2565) - YouTube
  3. มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
  4. การสนทนาธรรมตามกาล | questionfrom
  5. มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา

มงคลชีวิต ๓๘ ประการ: มงคลที่ ๓๐ การสนทนาธรรมตามกาล

มงคลสูตรคำฉันท์ พระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาเกี่ยวกับมงคลสูงสุด ไว้ ๓๘ ประการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทประพันธ์ร้อยกรองประเภทคำฉันท์ มีลักษณะเด่นทางวรรณศิลป์ ใช้ถ้อยคำภาษาง่ายๆ แม้จะมีศัพท์บาลีอยู่บ้าง ก่อนนอนคืนนี้น้อมสิ่งดีใส่กมล สวดสูตรมงคลไม่อับจนในชีวา ู้ทรงพระราชนิพนธ์ คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ. ศ. 2466 ฉันทลักษณ์ แต่งเป็นคำฉันท์ คำฉันท์ ประกอบด้วย กาพย์ฉบังและอินทรวิเชียรฉันท์ในเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ จะแทรกคาถาบาลี เนื้อเรื่องย่อย พระอานนท์ เป็นผู้เล่าว่า พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวันวิหารซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวาย ตอนปฐมยาม มีเทวดารัศมีเจิดจ้ามาเข้าเผ้าพระพุทธองค์ ทูลถามถึงเรื่องมงคลพระพุทธเจ้าจึงตรัสเทศนาถึงมงคล ๓๘ ประการ เทวดาและมนุษย์ผู้ปฎิบัติตาม จะเป็นผู้ประเสริฐ ไม่แพ้ในที่ใดๆได้รับความเจริญสวัสดีทุกประการ มงคล ๓๘ ประการ เทียบกับคำฉันท์ ได้ดังนี้ ๑. ไม่คบคนพาล/๑. หนึ่งคือ บ่ คบคนพาล จะพาประพฤติผิด ๒. คบบัณฑิต/๒. หนึ่งคบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสบผล ๓. บูชาผู้ที่ควรบูชา/๓. หนึ่งกราบก่อนบูชา อภิปูชนีย์ชน ๔.

ผลการค้นหาด้วย Google

รายการ พบพระอาจารย์ " สนทนาธรรมตามกาล " (ศ.28 ม.ค.2565) - YouTube

ไม่พูดวาจาที่ทำให้เกิดความแตกร้าว ไม่ใช้คำพูดก้าวร้าวรุนแรง แต่ใช้วาจาที่ก่อให้เกิดความสามัคคี ประสานน้ำใจ 8. ไม่แสดงอาการโกรธเมื่อถูกขัดแย้ง เราพูดอะไรไปถ้าเขาแย้งมาอย่าเพิ่งโกรธ ให้พิจารณาไตร่ตรองดูโดยแยบคาย เพราะบางทีเราอาจมองข้ามอะไรบางอย่างไป เรื่องบางเรื่องอาจถูกในที่หนึ่ง แต่ผิดในอีกที่หนึ่ง ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ ถ้าเราด่วนโกรธเสียก่อน ความคิดที่จะไตร่ตรองตามก็ไม่มีปัญญาของเราจะถูกความโกรธปิดบังหมด 9. ไม่ปรารถนาลามก คิดที่จะให้ตนมีชื่อเสียง อยากเด่นอยากดังตั้งใจจะฉีกหน้าผู้อื่นเพื่อให้ตนดัง ถ้าวันไหนจะไปสนทนาธรรมแล้วเกิดมีความรู้สึกอยากจะไปฉีกหน้าใคร วันนั้นนอนอยู่บ้านดีกว่า มันไม่เป็นธรรมตั้งแต่ต้นแล้ว อย่าไปสร้างเวรสร้างกรรมเลย 10. ตั้งจิตไว้ว่าจะสนทนาธรรมเพื่อให้เกิดปัญญา จะเอาความรู้ของเราไปต่อเอาความรู้คนอื่นเขามา ไม่ใช่ไปเพื่ออวดรู้ แต่จะไปแลกเปลี่ยนความรู้กัน 11. ไม่พูดออกนอกเรื่องที่ตั้งประเด็นไว้ ไม่อย่างนั้นจะกลายเป็นอวดดีหรือนินทาคนอื่นไป เช่น พูดเรื่องบาป พูดไปพูดมากลายเป็นว่า "ฉันน่ะไปทำทานไว้ที่นั่นที่นี่" กลายเป็นอวดว่าฉันใจบุญนะ หรือพูดเรื่องทาน พูดไปพูดมากลายเป็นว่า "อุ๊ย!

๏ ยามหดหู่ ฟุ้งซ่าน กาลสงสัย เป็นสมัย ไต่ถาม ตามเหตุผล เพื่อบรรเทา คลี่คลาย หายกังวล ควรจะสน- ทนาธรรม ตามที่ควร. การได้สนทนากันเรื่องธรรม ทำให้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และได้รู้ในสิ่งใหม่ๆ ที่เราอาจนึกไม่ถึง หรือเป็นการเผื่อแผ่ความรู้ที่เรามีให้แก่ผู้อื่นได้ทราบด้วย ก่อนที่เราจะสนทนาธรรม ควรต้องพิจารณาและคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้คือ ๑. ต้องรู้เรื่องที่จะพูดดี ๒. ต้องพูดเรื่องจริง มีประโยชน์ ๓. ต้องเป็นคำพูดที่ไพเราะ ๔. ต้องพูดด้วยความเมตตา ๕. ต้องไม่พูดจา่โอ้อวด หรือยกตนข่มท่าน ข้อปฏิบัติเมื่อมีการสนทนาธรรม ๑. มีศีลธรรม คือการเป็นผู้ที่รักษาศีล ๕ หรือศีล ๘ เป็นนิจศีลอยู่แล้ว การเป็นผู้ปฏิบัติถือเป็นหน้าที่ขั้นต้นในการเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ๒. มีสมาธิดี คือการมีจิตใจจดจ่ออยู่กับเรื่องที่สนทนา ไม่ว่อกแวก พร้อมทั้งเป็นผู้ที่หมั่นเจริญสมาธิภาวนาด้วย ๓. แต่งการสุภาพ คือการแต่งตัวให้เหมาะสมกับยุคสมัย อยู่ในกรอบประเพณีของสังคมแวดล้อม ณ ที่นั้นๆ ถูกกาลเทศะ ๔. มีกิริยาสุภาพ คือมีความสุภาพในท่วงท่าไม่ว่าจะเดิน นั่ง ยืน หรือการกระทำใดๆ การที่มีกิริยางดงาม สุภาพย่อมโน้มน้าวจิดใจผู้พบเห็นให้เกิดความประทับใจที่ดี ๕.

มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต

  • รายการ พบพระอาจารย์ " สนทนาธรรมตามกาล / ความมีตนเสมอกัน " (ศ. 8 เม.ย.2565) - Pantip
  • หลอด ไฟ led 12v ยาว
  • Lost in japan แปล youtube
  • สนทนาธรรมตามกาลเป็นอุดมมงคล
  • Ipad air 4 ผ่อน 0 10 เดือน
  • ผลบอลหญิงสด ไทย 0-7 ญี่ปุ่น ชิงแชมป์เอเชีย วันนี้ 30/1/65 – บ้านกีฬา
  • การสนทนาธรรมเรื่อง "ปฏิจจสมุปบาท" โดยละเอียด - Pantip

ข้อควรปฏิบัติในการสนทนาธรรม 1. ต้องชำระศีลให้บริสุทธิ์ก่อน ถ้าเป็นฆราวาสก็ต้องรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ หรือถ้ารักษาศีล 8 มาล่วงหน้าสัก 7 วัน ก่อนสนทนาได้ยิ่งดี ไม่ใช่เพิ่งสร่างเมาแล้วมาคุยธรรมะกัน หรือว่ากินเหล้าไปก็คุยธรรมะไปอย่างนั้นใช้ไม่ได้ 2. ต้องหมั่นเจริญสมาธิภาวนาเป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนสนทนาธรรมถ้าได้ทำสมาธิก่อนจะดีมาก เพราะใจจะผ่องใสดี ทำสมาธิจนรู้สึกเหมือนอย่างกับว่า ทั้งเนื้อทั้งตัวของเราเป็นก้อนธรรมทั้งก้อน ให้ตัวเป็นธรรม ใจเป็นธรรมเสียก่อนแล้วจึงมาสนทนาธรรมกัน 3. แต่งกายสุภาพ ทีแรกที่เราชำระศีลให้บริสุทธิ์นั้น กายกับวาจาเป็นธรรมแล้ว พอเราทำสมาธิบ่อยๆ เข้า ใจของเราก็เป็นธรรมด้วย ถึงเวลาจะสนทนาก็ต้องแต่งกายให้สุภาพ สะอาดตา ยิ่งถ้าเป็นชุดขาวได้ยิ่งดีมาก ไม่ควรใช้เสื้อผ้าสีบาดตา ทั้งนี้เพื่อให้เครื่องประกอบกายของเราก็เป็นธรรมด้วย 4. กิริยาสุภาพ จะยืนจะเดินจะนั่งให้เรียบร้อย หนักแน่น สงบเสงี่ยม สำรวม มีกิริยาเป็นธรรม ไม่ให้กิริยาของเราทำให้ผู้อื่นขุ่นใจ เช่น เดินลงส้นเท้ามาปังๆ 5. วาจาสุภาพ คือวาจาสุภาษิตดังได้กล่าวมาแล้ว ไม่พูดเสียงดัง ไม่สรวลเสเฮฮา ไม่ยกตนข่มท่าน ไม่รู้บอกว่าไม่รู้ ควรชมก็ชม ควรติก็ติ แต่ไม่ด่า 6.

การสนทนาธรรมตามกาล | questionfrom

Welcome ยินดีต้อนรับทุกท่าน มงคลที่ ๓๐ การสนทนาธรรมตามกาล สนทนา ธรรมดี มีสาระ ท่านควรจะ ศึกษา หาข้อมูล พูดไพเราะดี มีผล ไพบูลย์ ที่เกื้อกูล สติ แลปัญญา ควรกล่าว ในสิ่ง ที่เป็นธุระ รู้กาละ เทศะ แลเนื้อหา พูดด้วย ตั้งใจดี มีเมตตา ด้วยศรัทธา เลื่่อมใส ในพระธรรม การสนทนาธรรมตามกาล คือ อะไร? การสนทนาธรรมตามกาล คือ การพูดคุยซักถามเกี่ยวกับธรรมะซึ่งกันและกัน ตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น โดยผู้สนทนาจะต้องรู้จักเลือกและแบ่งเวลาให้เหมาะสมด้วย จึงจะได้รับประโยชน์ และขะทำให้ได้รับความเบิกบานใจ มีความสุขความเจริญและกุศลเจริญยิ่งขึ้น ความหมายของคำว่า ธรรมะ มี ๒ ประการ ๑. ธรรมะ หมายถึง สภาพธรรมที่มีจริงกำลังปรากฏขณะนี้ให้รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ ๒. ธรรมะ หมายถึง ความดีความถูกต้อง การสนทนาธรรมที่ถูกต้อง หมายถึง การสนทนาให้เกิดความเข้าใจถูกต้องตรงตามความเป็นจริงของสภาพธรรม ให้รู้สภาพธรรมที่เป็นกุศลธรรม อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม (ไม่ดีไม่ชั่ว) รู้เท่าทันสภาพธรรมที่เกิดดับ ไม่หลงผิดยึดถือสิ่งที่เกิดชั่วขณะแล้วดับไป ว่าเป็นวัตถุสิ่งของ ตัวตน สัตว์ บุคคล เรา เขา ความยากในการสนทนาธรรม ๑.

มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา

ทำให้จิตเป็นกุศล ๒. ทำให้มีไหวพริบปฏิภาณดี ๓. ทำให้มีสติปัญญาเแลี่ยวฉลาด ๔. ทำให้ได้ยินได้ฟังธรรมที่ตนยังไม่ได้ฟัง ๕. ธรรมที่ฟังแล้ว ยังไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจชัดขึ้น ๖. ทำให้บรรเทาควมสงสัยเสียได้ ๗. เป็นการทำความเห็นของตนให้ตรง ๘. เป็นการฝึกฝนอบรมจิตใจให้บริสุทธิ์ ๙. เป็นการรักษาประเพณีอันดีงามของพระอริยเจ้า ๑๐. ชื่อว่าได้ดำเนินตามปฏิปทา อันเป็นวงศ์ของนักปราชญ์ ฯลฯ..................................

9 เม. ย. 2565) ายการ พบพระอาจารย์ "สนทนาธรรมตามกาล/สัตว์ ๒ เท้า ๔ เท้า ขาพิการ" (ศ. 1 เม. 2565) รายการ ร่าเริงในธรรมกับพระอาจารย์ เหตุที่ทำให้มนุษย์จำนวนลดลง (04 02 65) รายการ พบพระอาจารย์ "อานิสงส์สรรเสริญพระศาสดา" (พ. 6 เม. 2565) สัมปชัญญะ ๔ รู้สึกตัวทั่วพร้อม วันนี้วันพระ ขอเชิญเจริญกุศลด้วยการฟังธรรมคำจริงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพึงเห็นโทษของอกุศลทุกประการแม้เพียงเล็กน้อย สมาชิกหมายเลข 6668888 มหาสติปัฏฐาน 4 ปฏิบัติธรรม วันพระ กระทู้นี้ผมอาจเสนอรุนแรงไปหน่อยว่าด้วย การนำเสนอธรรม ผล 3 แบบ 1. ปุถุชนนำเสนอธรรมที่ถูกที่ควร ย่อมได้รับกุศลธรรมเป็นดังค่าจ้าง 2. พระอริยะเสนอธรรมที่ถูกที่ควร ย่อมเป็นดังผู้เสวยธรรมนั้น 3. ปุถุชนนำเสนอธรรมของผู้เห็นผิดในธรรม ย่อมเป็นด P_vicha ทำบุญ คุณคิดว่า จักษุธรรม หรือ ดวงตาเห็นธรรม คืออะไร? ผมคิดว่า จักษุเห็นธรรม หรือ ดวงตาเหตุธรรม มันคือนามประธรรม คือการเห็นเรา เห็นความจริงในสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ เช่นการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย มันเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นในธรรมชาติเราไม่สามารถ หลีกหนีได้ มันไม่ใ สมาชิกหมายเลข 1791393 พุทธทาสภิกขุ อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ ศาสนาพุทธ

กระทู้คำถาม ศาสนาพุทธ 0 สมาชิกหมายเลข 5448560 ▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼ แสดงความคิดเห็น คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ เข้าสู่ระบบ กระทู้ที่คุณอาจสนใจ ตอนที่-40:... พุทธวจน.... หลักการปฏิบัติเพื่อความเป็น " อมตะ "... อธิบายแบบย่อ ปล.